Pharm CE
  • หน้าหลัก
  • เกี่ยวกับเรา
  • ลงทะเบียนประชุมวิชาการ
    • LIP COSM
    • NCD_HERB_FOOD
    • Utilization of microbes
    • Feasibility
    • Cancer Therapy
    • Pain management
  • งานประชุมที่ผ่านมา
    • NCD_PCARE
    • 6th Qweek: SPEC
    • 6th Qweek: ISO17025
    • 6th Qweek: ACTD
    • INF11
    • CVS 11
    • Preclinical Research Ecosystem and modified drug development
    • คุณภาพยาชีววัตถุ
    • Cosmetic2019
    • Health aspects of quasi-vitamins
    • Clinical trials for dietary supplements
    • Basic Properties of Surface Active Agent and Its Applications For Cleansing Products
    • Quality of Life
    • Precision Animal Models in Cancer Research
    • การกำกับดูแลวัคซีน
    • Everything about pharm pricing
    • Clinical Pharmacy Conference
    • LC-MS
    • Good Review Practice
    • Designing Assessment System
    • ISO 19011 training
    • PM >
      • Download document_Vaccine
    • slid state 2018
    • HPTLC
    • Preclinical & Clinical Studies
    • สมุนไพรแห่งชาติครั้งที่ 2
    • ส่งเสริมสมรรถนะวิชาชีพ >
      • เอกสารประกอบการประชุม_ซักประวัติ
    • Multi-omics
    • Infectious_10th
    • Train_HPTLC
    • open house
    • CVS 10
    • spec 5
    • Tackling Formulation Challenges
    • Good Regulatory >
      • GRM handout
      • CV lecturer
    • Cosmetic
    • Plant Rabies
    • DIET MANAGEMENT
    • biosimilar
    • Vaccine for elderly >
      • จองห้องพัก Vaccine
    • CANCER IMMUNOTHERAPY
    • Protein-based Drugs
    • Symposium2
    • การดูแลผู้ป่วยโรคภูมิแพ้
    • HERB4.0
    • OSPE
    • THE USE OF BIOINFORMATICS FOR PHYLOGENETIC ANALYSIS
    • 2_MicroProduct
    • The Influence of Solid State >
      • ขั้นตอนการชำระเงินค่าลงทะเบียน
      • ดาวน์โหลดเอกสาร
    • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เค >
      • ลงทะเบียน
      • กำหนดการ
      • การชำระเงินค่าลงทะเบียน
    • FUNDAMENTALS BEHIND PHARMACEUTICAL SPECIFICATION >
      • กำหนดการ
      • ลงทะเบียน
      • ขั้นตอนการชำระเงินค่าลงทะเบียน
      • ดาวน์โหลดเอกสาร
    • Pharmacotherapy in Cardiometabolic Diseases ครั้งที่ 9 >
      • กำหนดการ
      • ลงทะเบียน
      • การชำระเงินค่าลงทะเบียน
      • ดาวน์โหลดเอกสาร
      • ตรวจสอบรายชื่อการลงทะเบียน และการชำระ&#
    • การวิเคราะห์ทางภูมิคุ้มกันวิทยา: เทคโน& >
      • กำหนดการอบรม
      • ลงทะเบียน
      • วิธีการชำระเงิน
    • การรักษาและให้คำแนะนำเพื่อแก้ปัญหาผิ >
      • วิธีการชำระเงิน
    • Pharmacotherapy in Infectious Diseases ครั้งที่ 9 >
      • download documents
    • Plant - produced Biopharmaceuticals >
      • PARTICIPANTS REGISTRATION
      • download documents
    • Herbal Skin Care Products for Acne and Acne Scars >
      • download documents
    • Pain management >
      • กำหนดการ PAIN
      • วิธีชำระเงิน PAIN
  • บทความวิชาการ
  • เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
  • หน่วยงานเครือข่าย
  • ติดต่อเรา
Continuing Pharmacy Education, Pharm Chula​
** กรุณาลงทะเบียนก่อนชำระเงินทุกครั้ง ให้สิทธิ์แก่ผู้ที่ลงทะเบียนก่อนหากที่นั่งเต็ม และหากท่านชำระเงินแล้ว ในการขอเงินคืน จะถือว่าท่านยอมรับการใช้เอกสารประกอบจำนวนมากและใช้เวลานาน **
Picture

Clinical Pharmacy Conference 2019:
“Clinical skills and practice enhancement”

วันที่ 1 – 3 พฤษภาคม 2562 
ณ โรงแรมนารายณ์ กรุงเทพมหานคร 


Chulalongkorn University (CU) Faculty of Pharmaceutical Sciences
in collaboration with University of Illinois at Chicago (UIC) College of Pharmacy

เภสัชกรที่เข้าร่วมประชุมครบทั้งงานจะได้รับหน่วยกิตการศึกษาต่อเนื่อง จำนวน 16.50 หน่วยกิต

​

ลงทะเบียนเข้าร่วม
ตรวจสอบรายชื่อผู้ลงทะเบียน
ลงทะเบียนเข้าร่วม (สำหรับแหล่งฝึก)
ตรวจสอบรายชื่อผู้เข้าร่วม (แหล่งฝึก)
การใช้สิทธิ์แหล่งฝึกปฏิบัติงาน (สำหรับงานนี้) - จะต้องเป็นหน่วยงานที่รับฝึกนิสิตเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ชั้นปีที่ 6 เท่านั้น
หากท่านมีข้อสงสัย สามารถสอบถามหรือตรวจสอบสิทธิ์ได้ที่หน่วยฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ โทร. 02-218-8450

ส่งหลักฐานการชำระเงิน
กำหนดการ
แบบฟอร์มสำหรับการจองห้องพัก
จดหมายเชิญเข้าร่วมการประชุม
จดหมายขออนุมัติไม่เป็นวันลา

หลักการและเหตุผล

               ในปัจจุบันนอกจากเภสัชกรจะมีบทบาทในการดูแลผู้ป่วยเรื่องการเตรียมและผลิตยา การจัดซื้อจัดหายาที่มีคุณภาพ การบริหารจัดการเชิงระบบเพื่อประโยชน์ในการลดข้อผิดพลาดและเพิ่มคุณภาพของงานบริการผู้ป่วยในภาพรวมแล้ว บทบาทของเภสัชกรที่สำคัญอย่างหนึ่งคือการปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยโดยตรง (direct patient care) โดยร่วมเป็นส่วนหนึ่งของทีมสหสาขาวิชาชีพในการปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ ที่มีความต้องการด้านยา (individual patient’s need) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีในการรักษาผู้ป่วยเฉพาะราย ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ และเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย 
                 การที่เภสัชกรจะปฏิบัติงานดังกล่าวให้เกิดผลสัมฤทธิ์นั้น จำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบหลายส่วนร่วมกัน ทั้งความรู้ด้านเภสัชบำบัด (pharmacotherapy) ความเข้าใจเรื่องระบบการทำงาน (systems-based care and population health) การเลือกใช้ข้อมูลหลักฐานเชิงประจักษ์อย่างเหมาะสม รวมถึงมีความสามารถในการประเมินผู้ป่วยและมีทักษะในการเขียนบันทึก และการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งต่อเภสัชกร บุคลการในทีมสหสาขาวิชาชีพที่ปฏิบัติงานร่วมกัน และผู้ป่วยที่ดูแล บนพื้นฐานของความเชื่อถือ เข้าใจ และความเคารพต่อกันของผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนตามมาตรฐานและบทบาทของวิชาชีพ (professionalism) 
                    หลักสูตรการฝึกอบรมเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบำบัดภาควิชาเภสัชกรรมปฏิบัติ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตระหนักดีว่าการพัฒนาทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (continuing professional development) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญในความสามารถ (competency) ที่สำคัญของเภสัชกร จึงได้ประสานความร่วมมือทางวิชาการกับ University of Illinois at Chicago College of Pharmacy ประเทศสหรัฐอเมริกาจัดการประชุมวิชาการ Clinical Pharmacy Conference 2019 เรื่อง ‘Clinical skills and practice enhancement’ ขึ้น โดยคัดเลือกคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในการสอน มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เข้าใจง่าย และมีประสบการณ์ทางคลินิกมายาวนาน มาถ่ายทอดความรู้เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมมีความรู้ความเข้าใจที่ทันยุคเกี่ยวกับแนวทางการดูแลผู้ป่วยโดยอาศัยหลักฐานทางวิชาการ ความรู้ทางเภสัชบำบัด โดยวิธีการทำงานอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วย งานวิจัยและพัฒนาในคลินิกปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อวิชาชีพและประเทศชาติต่อไป



วัตถุประสงค์

1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจที่ทันสมัยเกี่ยวกับแนวทางการดูแลผู้ป่วยโดยอาศัยหลักฐานทางวิชาการ ความรู้ทางเภสัชบำบัด
2. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณ์ระหว่างเภสัชกร และคณาจารย์เภสัชกรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วย
3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุมนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วย

อัตราค่าลงทะเบียน

  • ชำระค่าลงทะเบียนภายในวันที่ 31 มีนาคม 2562             ท่านละ 6,000  บาท
  • ชำระค่าลงทะเบียนหลังวันที่ 31 มีนาคม 2562                 ท่านละ 6,500  บาท
  • ไม่รับลงทะเบียนหน้างาน

วิธีการชำระเงินค่าลงทะเบียน

Picture

วิธีการส่งหลักฐานการชำระเงิน

Picture
​ในกรณีที่ชำระเงินค่าลงทะเบียนแล้วแต่ไม่สามารถเข้าร่วมอบรมได้ ผู้จัดขอสงวนสิทธิ์ไม่คืนค่าลงทะเบียนในทุกกรณี
​*ยกเว้นผู้จัดขอเลื่อนวันจัดประชุม
Powered by Create your own unique website with customizable templates.